"Self-conquest is the greats of victory" การชนะใจตนเอง คือ ชัยชนะที่ยิ่งใหญ่ที่สุด

7/17/2010

BOE's Sentance Says `Gradual' Rate Increase in U.K. Would Assist Recovery

Bank of England policy maker Andrew Sentance said a gradual interest rate increase from a record low to fight inflation will help support the economic recovery.

“We certainly don’t want to snuff out the recovery, but we want to keep a check on inflation,” Sentance said in an interview with BBC Radio 4’s “Money Box” program. “If we can raise interest rates in a gradual way, that will be helpful for the recovery because it will mean there won’t be a big shock to the business community.”

Sentance, 51, in June became the first member of the Bank of England’s Monetary Policy Committee to push for a rate increase, which would be the first in almost two years. The other seven policy makers opted to keep the benchmark rate at 0.5 percent as they weighed the risk of inflation against the danger that the deepest public spending cuts since World War II will kill the economic recovery.

The central bank also kept the rate unchanged this month, with the minutes of that meeting scheduled for release on July 21.

A rise in inflation has been “quite a surprise,” Sentance told the BBC.
Consumer prices have risen by more than the government’s 3 percent limit in every month since February and the statistics office yesterday said they increased 3.2 percent in June, more than economists surveyed by Bloomberg had forecast.


“We had previously expected the recession to push down inflation,” he said. “Inflation has been running above the target. The economy is still at an early stage of the recovery, but we did take interest rates down to an exceptionally low level last year. The question is to find the right level to support the recovery.”

Business surveys, especially those run by the Confederation of British Industry, are among reports that Sentance said he is “particularly keen on” when considering the economy before making an interest-rate decision.

By Anchalee Worrachate - Jul 17, 2010

Euro making a comeback? Not so fast

(MarketWatch) -- Since the euro touched a four-year low against the U.S. dollar just over a month ago, the shared currency has jumped a whopping 9.2%.

But analysts don't believe that's because everything is suddenly just peachy in the euro-zone and the worries about sovereign debt that drove the currency to that low have disappeared.

The euro sold off pretty steeply from about $1.51 in November because of worries that the sovereign-debt problems would drive away investors in the region and the fiscal austerity measures to address the deficits would put a lid on economic growth. It fell under $1.19 in early June.

People who had taken positions that would benefit from a weaker euro -- including shorting the currency -- are now on the other side of that trade, analysts said. Or at least they're unwinding the bets.

"After watching the euro shoot skyward like Wile E. Coyote with an Acme rocket on his back over the last few days, it's more likely that traders, seeing that $1.30 cliff face approaching, decided it was time to pull the plug," said Dan Cook, senior market analyst at IG Markets.

Data that aggregates traders' positions in currencies bears that out in recent weeks.
Net long positions in the U.S. dollar -- bets that it would appreciate -- declined for a fourth week ended July 6, according to Morgan Stanley. The level of net longs was the lowest since March.


At the same time, traders halved their short euro positions, Morgan Stanley said.
And indeed, one positive about a weaker euro is that it makes exports cheaper to sell abroad -- a good thing for Europe's manufacturing-heavy economy.


"Growth isn't falling off a cliff" in the euro-zone, said Michael Materasso, who co-manages the Franklin Total Return Fund /quotes/comstock/10r!fkbax (FKBAX 10.00, +0.01, +0.10%) .

The handful of recent U.S. economic reports that have come in weaker than forecast need to be looked at in the broader context, he said. The U.S. was already widely expected to slow in the second half of the year.

"The euro should be weaker," Materasso said. "Our view is we don't see a double dip, but we could see the U.S. economy grow below its potential but not flirt with recession."
There's little potential for the euro to rise above $1.30, Morgan Stanley analysts said in a note Friday.


"Investors have become too pessimistic about the global outlook," they wrote. "We favor a stronger U.S. dollar as the U.S. recovery proves sustainable."

Still, earlier this week, Goldman Sachs said the euro could rise to $1.38 in a year, supported by "reasonably solid" euro-zone growth and fewer disruptions than feared.

The upcoming release of stress tests on European banks should be supportive of the euro but the strength of the rally cannot be justified by recent news, strategists at Barclays Capital said.
The firm expects the results to be perceived positively by markets. If so, it will reduce the likelihood of a large move down by the euro, they said.


Still, it won't last, and the recent rally has been more because of reduced short positions than a big change in investor sentiment, strategists led by Jeffrey Melli wrote in a report.

Barclays expects the euro to fall back to $1.20 in the next three months and trade near $1.25 a year from now.

Deborah Levine is a MarketWatch reporter, based in New York.

7/16/2010

Gold Trods Zig-Zag Path But Long-Term Trend Points Up

Chicago -- (Kitco News) --Gold has meandered around the $1,200 an ounce level lately, struggling to stage much in the way of rallies – or breaks – as it enters the second half of 2010.

In the short-term gold may have limits to its upside potential, but the longer-term trend remains intact most market watchers believe.

“The trend is still up, but July has been difficult for gold. It’s struggling with the counter-seasonal tendencies,” said John Person, president of National Futures.com

Gold has been overshadowed by the strength in equities during the first several days of July, but many market watchers still don’t put much faith in the move higher in stocks. The first trickles of earnings reports have come in positive, but there’s a long season of earnings ahead. Those scant supportive earnings reports tend to get overshadowed by economic data, which lately has pointed to a soft-patch in the resumption of growth in the U.S. economy. The most recent example was Thursday’s retail sales report and the Empire State Index, a measure of manufacturing in New York.

Ken Morrison, editor and founder of the online newsletter Morrison on the Markets, said that gold’s lackluster performance lately goes along with some other commodity markets that have lost at least a favor with asset managers.

“Price behavior of gold futures and gold-related ETF’s since June 30 suggests there is a movement to reduce positions in gold and related investment and to turn the ‘paper profits’ into ‘booked’ profits…. Based on the high volume and sharp decline on July 1, it’s like the ‘longs’ could hardly wait to pull the trigger to lock in some of those gains once the quarter ended,” Morrison said.

He also said activity in the Commodity Futures Trading Commission’s weekly commitment of traders’ report underscores what is seen in the exchange-traded funds.

“It’s notable that in the week ending July 6, hedge funds reporting a long position to the CFTC declined by nearly 20% from 115 to 93 funds. Not only were longs exiting, but the same report confirmed that new short sellers were stepping up to the plate as the number of funds reporting short positions increased to 22 from a paltry nine in the prior week ending June 29,” he said.

Several market watchers have noted the drop in investor interest in gold since the prices hit their nominal all-time high in mid-June. Total ETF holdings dropped 4.4 metric tons from the high of 1320 tons in mid-June. Short-term it suggests that investors are uninterested in adding to positions, but the fact that redemptions have not accelerated means there’s still appetite to hold gold for the long-tem, the market watchers said.

Looking at technical charts, Morrison believes the August Comex futures are setting up a classic bear market flag as it struggles to break through the $1225-30 area, which could mean a correction is possible in the short-term. He said in the past two to three years that when gold has made new highs, then corrected, those corrections have been anywhere from 15% to 30%. A 15% correction from the mid-June intraday highs around $1,266 would mean a fall to $1,075.

Gold normally experiences a choppy price trend at this time of year, and this year is no different, Person said. The yellow metal is likely to weaken in the near-term, but by mid-August that should end, and prices are likely to rise into year-end because of seasonal patterns.

He said provided during the next four weeks gold will hold above $1,100 on a weekly basis the yellow metal could trade between $1,250 and $1,450. “If we see a weekly close under $1,100 (in the next four weeks) then all bets are off. That means something has drastically changed,” he said.

Person doesn’t recommend shorting gold despite its difficulties to return to the recent highs. “If you don’t want to own it here, wait to buy on dips,” he said.

Alan Bush, senior financial futures analyst at Archer Financial Services is still bullish on gold for the long-term. “There are two ways to trade gold. You’re either out, or you’re long. I would never have a naked short in gold in case of a geopolitical incident that occurs or that a … chart signal is hit” and prices spike, he said.

Bush cited all the money supply floating around the world because of stimulus spending has the potential to be inflationary, especially if the global economy is in recovery. Future inflation is still a concern, even though inflation now isn’t an issue. He also cited the recent purchases of gold by different central banks as price supportive.

But some believe the global recovery is in doubt.

Shawn Hackett, president of Hackett Global Advisers said he sees inflation in the long-term – but not until 2011 – because he believes the U.S. is due for a deflationary move for the rest of the year. Souring economic data could mean the stimulus plans the U.S. government put in place have come to an end and for the economy to continue to grow, more stimulus is needed. However, given how much the U.S. electorate disliked the first stimulus package, politically he does not believe the Federal Reserve and Obama administration can offer another unless another crisis hit.

“I think we’re headed for a heavy dose of deflation in the fourth quarter,” he said.

Much like what the markets experienced in 2008-09 with asset values declining, something similar could happen later this year. He said money supply contracting despite record low interest rates as consumers pay off debt and that leaves less money around to buy goods. “In the long-term, that’s a good thing, but in the short-term it isn’t,” he said.

In a deflationary scenario all assets – gold included – would fall. He said gold could trade in the $950 to $1,000 range – and that could offer investors a chance to buy the yellow metal at a discount to current prices. “That would be a fantastic time to buy gold as once we’re in the reflationary cycle you can maximize the upside,” he said.

16 July 2010, By Debbie Carlson Of Kitco News

7/08/2010

บีพีล้มละลาย ใครตายก่อน?

เมื่อประเมินสถานะและความมั่นคงของบริษัทน้ำมันเปรียบเทียบกับสถาบันการเงินแล้วก็จะพบว่า บริษัทน้ำมันไม่มีเงินฝาก หรือเงินทุนสำรองก้อนโตคอยค้ำจุนความมั่นคง

เหตุการณ์แท่นขุดเจาะน้ำมันดีพวอเตอร์ ฮอไรซอน ในอ่าวเม็กซิโกระเบิด อาจจะไม่ได้เป็นฝันร้ายที่จะตามหลอกหลอน บริติช ปิโตรเลียม หรือ บีพี บริษัทน้ำมันยักษ์ใหญ่ของอังกฤษแต่เพียงผู้เดียวอีกต่อไป

เมื่อความเคลื่อนไหวล่าสุด บริษัทบีพีเร่งเดินหน้าหารือกับบรรดากองทุนความมั่งคั่งแห่งชาติ (เอสดับเบิลยูเอฟ) ของประเทศในภูมิภาคตะวันออกกลาง และเอเชีย เพื่อหวังจะดึงเข้ามาเป็นหุ้นส่วนทางยุทธศาสตร์ และปิดโอกาสบริษัทน้ำมันยักษ์ใหญ่รายอื่นไม่ให้เข้ามาเทกโอเวอร์

ท่าทีกระเสือกกระสนเอาตัวรอดของบีพีในยามที่วิกฤตถาโถมเช่นนี้ ก็ทำให้ความกังวลเกี่ยวกับความเป็นไปได้ที่บีพีจะ “ล้มละลาย” กลับมาเป็นที่กล่าวขวัญถึงอีกครั้ง ซึ่งผู้ที่ดูเหมือนว่าจะต้องรับบทหนักที่สุด หากเรื่องราวปรากฏออกมาในรูปนี้ ก็หนีไม่พ้นรัฐบาลสหรัฐ

ด้วยภาระหนักอึ้งที่บีพีต้องเผชิญ ไม่ว่าจะเป็นตัวเลขการประมาณการมูลค่าความเสียหายที่สูงถึง 1,600 ล้านเหรียญสหรัฐ การให้คำมั่นสัญญาว่าจะตั้งกองทุนชดเชยให้กับเหยื่อผู้บริสุทธิ์อีกกว่า 2 หมื่นล้านเหรียญสหรัฐ มูลค่าหุ้นในตลาดหลักทรัพย์ที่ดิ่งลงกว่า 9 หมื่นเหรียญสหรัฐ หรือเกินกว่า 50% ตลอดจนการถูกปรับลดอันดับความน่าเชื่อถือลงมาอย่างถล่มทลาย ก็ทำให้บีพีหลงเหลือทางเลือกที่จะเป็นทางรอดอยู่ไม่มากเท่าใดนัก และหนึ่งในทางเลือกที่บีพีหลงเหลืออยู่ในขณะนี้ก็คือ การยื่นขอล้มละลาย

นักวิเคราะห์หลายฝ่ายมองว่า สถานการณ์ที่กำลังเกิดขึ้นมีส่วนสนับสนุนให้บีพีตัดสินใจยื่นขอล้มละลาย โดยตามกฎหมายล้มละลายที่เป็นอยู่ บริษัทสามารถยื่นขอล้มละลายได้ถึงแม้ว่าจะยังมีความสามารถในการชำระหนี้ได้อยู่ และหากบีพียื่นขอล้มละลายจริง บีพีก็จะเดินหน้าเข้าสู่กระบวนการฟื้นฟู และปรับโครงสร้างหนี้อย่างที่หลายบริษัทก่อนหน้านี้ได้กระทำ

คำถามสำคัญคือ หากบีพีล้มละลายขึ้นมา อะไรจะเกิดขึ้น

แน่นอนว่า เหตุการณ์น้ำมันรั่วที่เกิดขึ้น เกิดในเขตประเทศสหรัฐ ผู้ที่จะได้รับผลกระทบหนักที่สุดหากบีพีล้มละลายคงหนีไม่พ้นรัฐบาลสหรัฐ

เพราะเมื่อบีพีล้มละลาย นั่นหมายความว่า บีพีจะไม่สามารถจ่ายคืนภาระหนี้สินที่ตนแบกรับอยู่คืนให้กับเจ้าหนี้ได้ และภาระหน้าที่ที่บีพีเคยประกาศว่าจะให้ความช่วยหลือ และชดเชยเงินให้แก่ผู้ที่ได้รับผลกระทบจากเหตุน้ำมันรั่วก็จะกลายมาเป็นงานหนักของรัฐบาลสหรัฐ

ชะตาชีวิตของบรรดาชาวประมง พนักงานประจำแท่นขุดเจาะน้ำมัน เจ้าหน้าที่ที่ทำหน้าที่กำจัดคราบน้ำมัน และผู้ที่ได้รับผลกระทบจากเหตุน้ำมันรั่วทั้งหมดทั้งมวลก็จะกลายเป็นความรับผิดชอบของรัฐบาลสหรัฐ
ผลกระทบที่จะเกิดขึ้นอีกประการหนึ่งหากบีพีล้มละลายก็คือ จะทำให้อัตราการว่างงานในสหรัฐเพิ่มสูงขึ้นแบบทันทีทันใด เพราะทันทีที่บีพีล้มละลาย บรรดาเจ้าของสถานีบริการน้ำมันของบีพีที่ดำเนินกิจการอย่างเป็นอิสระจำนวนหลายพันสถานีทั้งสหรัฐต้องตกงาน


ยิ่งไปกว่านั้น จากความจริงที่ว่าบริษัทบีพี เป็นบริษัทน้ำมันที่มีสัดส่วนการนำเข้าน้ำมันจากตะวันออกกลางน้อยที่สุดเพียงประมาณ 10 ล้านบาร์เรล เมื่อเทียบกับเอ็กซอน เชฟรอน และ วาเลโร ซึ่งนำเข้าเกินกว่าร้อยล้านบาร์เรล ก็แปลว่า หากบีพีล้มละลาย รัฐบาลสหรัฐก็จะพึ่งพาการบริโภคน้ำมันจากตะวันออกกลางมากยิ่งขึ้นกว่าเดิม ซึ่งเป็นสิ่งที่รัฐบาลสหรัฐไม่พึงปรารถนาเท่าใดนัก

การล้มละลายของบีพี นอกจากจะสร้างภาระอันหนักอึ้งให้กับรัฐบาลสหรัฐ ซึ่งอาจมีผลไปฉุดรั้งการฟื้นตัวของเศรษฐกิจสหรัฐที่รัฐบาลพยายามกระตุ้นนักกระตุ้นหนาแล้ว ยังมีโอกาสจะจุดชนวนวิกฤตเศรษฐกิจให้เกิดขึ้นมาอีกครั้งหนึ่งด้วย

ก่อนหน้านี้ เหตุการณ์น้ำมันรั่วในอ่าวเม็กซิโกถูกสื่อสารออกมาในเชิงผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อม และความเดือดร้อนเฉพาะหน้าของชาวอเมริกันซึ่งอาศัยอยู่ในพื้นที่ ทว่าหลายฝ่ายประเมินความรุนแรงของเหตุการณ์น้ำมันรั่วในครั้งนี้ที่มีต่อเศรษฐกิจโลกต่ำเกินไป

ความเป็นจริงข้อหนึ่งที่สำคัญ และอาจจะถูกละเลยไปก็คือ สภาพคล่องทางการเงินของโลกนั้นขึ้นอยู่กับความมั่นคงของบริษัทน้ำมันยักษ์ใหญ่อย่างมาก เนื่องจากบรรดาสถาบันทางการเงินต่างๆ ของโลกมักจะเข้าไปลงทุน หรือมีผลประโยชน์เกี่ยวข้องกับธุรกิจน้ำมัน ซึ่งถูกมองว่าเป็นธุรกิจที่มีความสามารถในการชำระหนี้ได้เป็นไปตามเงื่อนไข และตรงตามกำหนดเวลา

ดังนั้น หากบริษัทน้ำมันล้มละลาย บรรดาสถาบันการเงินที่เข้าไปมีผลประโยชน์อยู่ด้วยก็จะติดร่างแห และได้รับผลกระทบตามไปด้วย

เมื่อประเมินสถานะและความมั่นคงของบริษัทน้ำมันเปรียบเทียบกับสถาบันการเงินแล้วก็จะพบว่า บริษัทน้ำมันไม่มีเงินฝาก หรือเงินทุนสำรองก้อนโตคอยค้ำจุนความมั่นคงของบริษัทเช่นเดียวกับสถาบันการเงิน และนั่นก็แปลว่า โอกาสที่บริษัทน้ำมันจะล้มละลายจึงมีมากกว่า

วันใดที่บีพีเกิดล้มละลายขึ้นมา แล้วพบว่าความรุนแรงที่เกิดขึ้นต่อภาวะเศรษฐกิจของโลกเลวร้ายเทียบเท่า หรือมากกว่าครั้งที่สถาบันการเงินยักษ์ใหญ่ของโลกอย่างเลห์แมน บราเธอร์ส เคยประสบมา จึงไม่น่าแปลกใจ

โพสต์ทูเดย์ 08 กรกฎาคม 2553

7/06/2010

แบงก์ยุโรปกับ Stress Test

แบงก์ยุโรปกับ Stress Test มั่นใจเกินไป วิกฤตยิ่งบานปลาย

การทดสอบสมรรถภาพจึงไม่ต่างอะไรกับการสร้างภาพ ในความเห็นของนักวิเคราะห์หลายๆ ราย แต่ยุโรปยังมองว่าเป็นการทดสอบอย่างจริงจัง และจะต้องโปร่งใสอย่างถึงที่สุด

เมื่อปีที่แล้วสหรัฐสร้างความฮือฮาด้วยการประกาศโครงการทดสอบสมรรถภาพของสถาบันการเงิน ตามกระบวนการ Stress Test เพื่อตรวจสอบความแข็งแกร่งของสถาบันการเงินเหล่านี้ว่าเพียงพอที่จะรับมือกับภาวะช็อกได้หรือไม่ ในกรณีที่สถาบันการเงินชั้นนำเกิดล้มละลายอย่างไม่ทันตั้งตัวเหมือนชะตากรรมที่เกิดขึ้นกับเลห์แมน บราเธอร์ส

มาปีนี้และในสัปดาห์นี้ ถึงคราวที่ธนาคารกลางยุโรป (ECB) ต้องผลักดันให้ยุโรปต้องเดินตามรอยสหรัฐ ด้วยสถานการณ์ที่แตกต่างกัน แต่ด้วยความกังวลที่คล้ายคลึงกัน มิหนำซ้ำฝั่งยุโรปมีท่าทีกระวนกระวายใจเสียยิ่งกว่า

ยุโรปจึงเร่งรัดกับกระบวนการนี้เป็นพิเศษ โดยเริ่มตั้งแต่เดือนที่แล้ว เพื่อที่ในวันที่ 24 ก.ค. จะมีการประกาศผลการทดสอบอย่างเป็นทางการ ขณะที่สหรัฐให้เวลากับกระบวนการนี้ค่อนข้างนาน

ในกรณีของสหรัฐ การทดสอบสมรรถภาพของสถาบันการเงินเกิดขึ้นเพื่อตอบรับกับความโกลาหลที่เกิดขึ้นในตลาด ภายหลังจากสถาบันการเงินแห่งแล้วแห่งเล่าล้มครืนลงตามรอยเลห์แมน บราเธอร์ส จนความเชื่อมั่นสั่นคลอนอย่างรุนแรง

อย่างไรก็ตาม กรณีของสหรัฐดูเหมือนจะเข้าลักษณะวัวหายล้อมคอก เพราะนำมาตรการนี้มาใช้เมื่อสถาบันการเงินหลักๆ ล้มละลายไปเรียบร้อยแล้ว แต่อย่างน้อยยังมีผลลัพธ์ในด้านบวก คือ การเรียกคืนความเชื่อมั่นให้กลับคืนมา

ส่วนในกรณีของยุโรป หากไม่นับความล้มเหลวของไอซ์แลนด์แล้ว ยังไม่ปรากฏสถาบันการเงินแห่งใดที่ล้มครืนลงอย่างรุนแรง ทว่าวิกฤตหนี้สาธารณะที่กำลังบั่นทอนเสถียรภาพของบางประเทศ กำลังทำให้หลายฝ่ายพลอยกังวลว่าปัญหาในระดับสาธารณะจะลุกลามมาถึงภาคเอกชนด้วย

ที่ประชุมสุดยอดผู้นำยุโรปจริงจังกับปัญหานี้อย่างมาก และเห็นพ้องแทบจะในทันทีให้ดำเนินการทดสอบ เพราะหากพิจารณาว่าสหรัฐใช้มาตรการนี้เพื่อเรียกคืนความเชื่อมั่นแล้ว ยุโรปก็อยู่ในสถานะนั้นเช่นกัน หลังจากที่บรรดาบริษัทจัดอันดับความน่าเชื่อถือทางการเงินระดมหั่นระดับเครดิตของสมาชิกกลุ่มประเทศยูโรโซนอย่างมันมือ จนส่งผลสะเทือนต่อความเชื่อมั่นอย่างรุนแรง

หากผลที่ออกมายืนยันว่า สถาบันการเงินยุโรปยังมี “สุขภาพ” ที่ดี ยุโรปจะมีเหตุผลหนักแน่นในการทัดทานการลดอันดับความน่าเชื่อถือทางการเงิน อีกทั้งยังสามารถเตรียมรับมือกับสถานการณ์เลวร้ายที่อาจเกิดขึ้นได้ทุกเมื่อ

จึงไม่ต้องสงสัยเลยว่า เหตุใดธนาคารของสเปนจึงประกาศลั่น พร้อมเผยผลการทดสอบเป็นรายแรก ในฐานะที่สเปนตกเป็นเป้าข่มขู่การลดอันดับความน่าเชื่อถือทางการเงิน อีกทั้งยังมีปัญหาน่าเป็นห่วงทั้งในระดับดุลงบประมาณ และระดับธนาคารเอกชนที่เริ่มขาดสภาพคล่อง

แต่การทดสอบครั้งนี้ถือเป็นการชี้เป็นชี้ตายสมรรถภาพของธนาคารและสถาบันการเงินยุโรป หรือกระทั่งสามารถเป็นข้อพิสูจน์ความทนทานของระบบการเงินยุโรปต่อมรสุมทางการเงินและเศรษฐกิจหรือไม่นั้น ยังเป็นสิ่งที่ต้องพิจารณาอย่างถี่ถ้วน

เหตุผลประการแรกมาจากประสบการณ์การทำ Stress Test ของสหรัฐ
การทดสอบสมรรถนะของสถาบันการเงินในสหรัฐเมื่อปีที่แล้ว ประเมินผลจากการตั้งสถานการณ์สมมติสองสถานการณ์ คือ ทดสอบความแข็งแกร่งในกรณีที่ตัวเลขผลิตภัณฑ์มวลรวมในประเทศ (GDP) ทรุดตัว และภาวะว่างงานรุนแรง และทดสอบความแข็งแกร่งในกรณีสถานการณ์เลวร้ายที่สุด คือ สหรัฐเผชิญกับภาวะเศรษฐกิจถดถอยซ้ำซ้อน


ผลปรากฏว่า การทดสอบสถาบันการเงินชั้นนำ 19 แห่งที่มีเงินทุนสูงกว่า 1 แสนล้านเหรียญสหรัฐ ทุกแห่งผ่านการทดสอบด้วยดี

อย่างไรก็ตาม การ “ผ่านการทดสอบด้วยดี” แม้จะช่วยแก้ปัญหาเฉพาะหน้าเรื่องความเชื่อมั่นของนักลงทุน แต่ในระดับโครงสร้างแล้วการทดสอบสมรรถภาพในเวอร์ชันของสหรัฐยังมีปัญหาอยู่มาก

นูเรียล รูบินี นักวิเคราะห์ชั้นนำแห่งตลาดวอลสตรีต ผู้เคยทำนายวิกฤตการเงินโลก ชี้ว่าในกระบวนการทดสอบของสหรัฐ แม้รัฐบาลจะกำหนดให้มีการเปิดเผยรายละเอียดทุกกระเบียดนิ้ว

แต่ในเวลาเดียวกันรัฐบาลสหรัฐกลับเปิดทางให้สถาบันการเงิน “ผลิต” ข้อมูลขึ้นมาอย่างแนบเนียน และข้อมูลส่วนใหญ่ออกมาด้านบวก หากไม่หนุนราคาหุ้นของสถาบันการเงินนั้นๆ ก็จะช่วยสร้างภาพลักษณ์ความสำเร็จให้กับกระบวนการ Stress Test

ไม่เพียงเท่านั้น รัฐบาลสหรัฐยังมีช่องทางในการอัดฉีดทุนเข้าหนุนสถาบันการเงิน ในกรณีที่ประสบปัญหาสภาพคล่อง และเสี่ยงที่จะก่อให้เกิดความเสียหายในวงกว้างยุโรปอาจขอยืมรูปแบบ Stress Test มาจากสหรัฐก็จริง แต่โดยเนื้อหาแล้วยังเป็นที่น่ากังขาว่า จะได้ผลลัพธ์ที่ “น่าพึงพอใจ” เท่ากับกรณีของสหรัฐหรือไม่

ปัญหาสำคัญของยุโรป คือ สมรรถภาพของสถาบันการเงินในแต่ละประเทศอยู่ในระดับที่ต่างกัน จากประเทศที่มีเสถียรภาพมากที่สุดคือเยอรมนี จนถึงประเทศที่ใกล้ล้มละลายเต็มทีอย่างกรีซ และที่ต่างกันยิ่งกว่านั้นคือ เสถียรภาพทางเศรษฐกิจ

ยุโรปตั้งสถานการณ์สมมติของการทดสอบไว้ที่ ภาวะถดถอยของ GDP 2.7% และภาวะว่างงาน 12% แต่ในความเป็นจริงบางประเทศมีตัวเลขเศรษฐกิจที่ย่ำแย่กว่านั้นหลายเท่าตัว เช่น สเปนที่อัตราว่างงานสูงถึง 20%

อีกหนึ่งประเด็นปัญหาที่น่าสนใจก็คือ ยุโรปมีชั้นเชิงในการเปิดเผยผลการทดสอบที่อ่อนด้อยกว่าสหรัฐ ซึ่งแม้จะจริงอยู่ที่สหรัฐใช้กลเม็ดในการปั่นความเชื่อมั่นภายหลังประกาศผลการทดสอบ ซึ่งถือเป็นเรื่องที่ยอมรับได้ยาก และไม่ช่วยแก้ปัญหาระยะยาว

แต่สหรัฐมองที่ความเชื่อมั่นของนักลงทุน ไม่ใช่ความแข็งแกร่งเชิงโครงสร้าง และถือเป็นพฤติกรรมโดยปกติของสหรัฐที่ได้ชื่อว่า ตีค่าภาคธุรกิจเหนือสิ่งอื่นใดการทดสอบสมรรถภาพจึงไม่ต่างอะไรกับการสร้างภาพ ในความเห็นของนักวิเคราะห์หลายๆ ราย แต่ยุโรปยังมองว่าเป็นการทดสอบอย่างจริงจัง และจะต้องโปร่งใสอย่างถึงที่สุด

การทดสอบที่ขาดการ “วางแผน” อย่างรัดกุมเหมือนดังสหรัฐ และการมั่นใจอย่างล้นเหลือของบรรดาผู้นำยุโรป จึงอาจส่งผลด้านลบอย่างเหนือความคาดหมาย เพราะความเข้าใจที่ต่างกัน รวมถึงความ “เข้าใจเอาเอง” ของผู้นำยุโรปว่า เศรษฐกิจของตนมีเสถียรภาพมากพอ ทั้งๆ ที่บางประเทศกำลังหมิ่นเหม่กับภาวะล้มละลายและเมื่อนั้นการทดสอบสมรรถภาพ จะไม่ใช่การยืนยันถึงความแข็งแกร่งของสถาบันการเงินยุโรป แต่จะกลายเป็นการเปิดเผยให้เห็นถึงความอ่อนแออย่างไม่น่าเชื่อซ้ำเติมให้วิกฤตยิ่งเลวร้ายลงไปอีก

จากโพสต์ทูเดย์ 06 กรกฎาคม 2553