Stop Loss คือ จำนวนเงินที่สามารถยอมรับความสูญเสียได้
วิธีการ Stop Loss มักจะใช้เพื่อจุดประสงค์ใน 2 กรณี
1. ใช้เพื่อหยุดการขาดทุน เพื่อปกป้องเงินลงทุนเริ่มต้น
2. ใช้เพื่อปกป้องผลกำไรที่กำลังลดน้อยลง
"Self-conquest is the greats of victory" การชนะใจตนเอง คือ ชัยชนะที่ยิ่งใหญ่ที่สุด
9/22/2009
Trailing Stops คืออะไร
โดยหลักการแล้ว Trailing Stops ใช้ปิดสถานะ เพื่อจำกัดความเสี่ยง หรือปกป้องกำไร หรือทั้งสองอย่าง
วิธีการ คือ เราตั้ง % หรือตัวเลขตัวนึงจากจุดสูงสุด ถ้าราคามันทรงๆ หรือขึ้นไปเรื่อยๆ ก็จะยังไม่ขาย โดยราคาที่กำหนดให้ขายจะขึ้นตามราคาสูงสุดของหุ้นไปเรื่อยๆ
เช่นเราอาจจะกำหนดว่า เราจะขายหุ้น ถ้าราคาตกลงมาจากจุดสูงสุด 20% ให้ขายทันที ใช้ได้ดีกับราคาที่วิ่งขึ้นแรงๆหรือลงแรงๆ ควรใช้กับการซื้อขายแบบ Long term ระบบนี้กำไรแน่นอน
วิธีการ คือ เราตั้ง % หรือตัวเลขตัวนึงจากจุดสูงสุด ถ้าราคามันทรงๆ หรือขึ้นไปเรื่อยๆ ก็จะยังไม่ขาย โดยราคาที่กำหนดให้ขายจะขึ้นตามราคาสูงสุดของหุ้นไปเรื่อยๆ
เช่นเราอาจจะกำหนดว่า เราจะขายหุ้น ถ้าราคาตกลงมาจากจุดสูงสุด 20% ให้ขายทันที ใช้ได้ดีกับราคาที่วิ่งขึ้นแรงๆหรือลงแรงๆ ควรใช้กับการซื้อขายแบบ Long term ระบบนี้กำไรแน่นอน
9/21/2009
Hedgingคืออะไร
Hedging คือการป้องกันความเสี่ยง ที่อาจจะเกิดขึ้นจากภาวะความผันผวนของราคาสินค้า หรือเงินตราต่างประเทศในตลาด สามารถทำได้โดยการส่งคำสั่งซื้อหรือขายในทางตรงกันข้ามจากคำสั่งที่ซื้อขายไว้ก่อนหน้านี้หรือจะเป็นการซื้อและขายในเวลาเดียวกันก็ได้
เช่น เมื่อเราซื้อ Buy ไว้เพื่อรอให้ราคาขึ้นแต่เกิดความไม่แน่นอนเกิดขึ้นราคากลับตกลงมาต่ำกว่าราคาที่เราซื้อbuyไว้ เราสามารถทำ Hedging โดยการเปิดขาย Sell ในทางตรงกันข้ามเพื่อจำกัดการขาดทุนไว้ไม่ให้มากไปกว่านี้
เช่น เมื่อเราซื้อ Buy ไว้เพื่อรอให้ราคาขึ้นแต่เกิดความไม่แน่นอนเกิดขึ้นราคากลับตกลงมาต่ำกว่าราคาที่เราซื้อbuyไว้ เราสามารถทำ Hedging โดยการเปิดขาย Sell ในทางตรงกันข้ามเพื่อจำกัดการขาดทุนไว้ไม่ให้มากไปกว่านี้
Averageคืออะไร
Average คือ การลงทุนแบบถัวเฉลี่ย เป็นการซื้อเฉลี่ยเมื่อราคาถอยลงมาในจำนวนเงินที่เท่ากันและต้องซื้อขายตามทิศทางหลักของตลาดอย่าสวนทางตลาด
การซื้อขายแบบ Day Trade
การซื้อขายแบบ Day Tradeเป็นการลงทุนระยะสั้นภายในวันเดียว เช่น เข้าซื้อตอนเช้า แล้วขายตอนบ่าย หากำไรจากส่วนต่างของราคาที่ซื้อขาย มีสิ่งที่ต้องคำนึงดังนี้
1. มีหลักการวางแผนที่ดีเพราะต้องเข้าเร็วออกเร็ว
2. เทคนิคต้องแม่นในระดับนาที
3. ต้องดู chart ได้หลายมิติ 5, 15, 30, 60 นาที
4. จังหวะการเข้าต้องดี สภาพคล่องต้องสูง
5. ต้องมีวินัยสูง ถึงเวลากำไรต้องออกอย่าถือยาว
6. ต้องควบคุมอารมณ์ตัวเองให้ได้เพราะราคาจะแกว่งตลอด
7. ถ้าไม่เป็นไปตามที่คาดหวังไว้ จะต้องปิด position ทิ้งทันที(อย่ามัวแต่นั่งรอความหวัง)
1. มีหลักการวางแผนที่ดีเพราะต้องเข้าเร็วออกเร็ว
2. เทคนิคต้องแม่นในระดับนาที
3. ต้องดู chart ได้หลายมิติ 5, 15, 30, 60 นาที
4. จังหวะการเข้าต้องดี สภาพคล่องต้องสูง
5. ต้องมีวินัยสูง ถึงเวลากำไรต้องออกอย่าถือยาว
6. ต้องควบคุมอารมณ์ตัวเองให้ได้เพราะราคาจะแกว่งตลอด
7. ถ้าไม่เป็นไปตามที่คาดหวังไว้ จะต้องปิด position ทิ้งทันที(อย่ามัวแต่นั่งรอความหวัง)
9/20/2009
วินัยในการซื้อขาย
1.วางแผนก่อนเข้าตลาดเสมอ
1.1กำหนดเป้าหมายต้องการกำไรเท่าไหร่แล้วตั้งlimitไว้
1.2เมื่อรู้ว่าผิดทางต้องกล้าตัดสินใจปิดการซื้อขายทันทีหรือตั้งstopไว้
2.ดูแนวโน้มก่อนว่าขึ้นหรือลงแล้วเข้าซื้อขายตามแนวโน้มอย่า!สวนทางตลาด
3.ต้องรอให้มีสัญญาณทางเทคนิคยืนยันก่อนเข้าตลาด
4.ห้ามซื้อขายวันที่ตลาดusปิดหรือวันที่มีการประกาศข่าวสำคัญที่มีผลกระทบกับตลาดมากๆ
1.1กำหนดเป้าหมายต้องการกำไรเท่าไหร่แล้วตั้งlimitไว้
1.2เมื่อรู้ว่าผิดทางต้องกล้าตัดสินใจปิดการซื้อขายทันทีหรือตั้งstopไว้
2.ดูแนวโน้มก่อนว่าขึ้นหรือลงแล้วเข้าซื้อขายตามแนวโน้มอย่า!สวนทางตลาด
3.ต้องรอให้มีสัญญาณทางเทคนิคยืนยันก่อนเข้าตลาด
4.ห้ามซื้อขายวันที่ตลาดusปิดหรือวันที่มีการประกาศข่าวสำคัญที่มีผลกระทบกับตลาดมากๆ
Economic Calendar (ความสำคัญของปฏิทินเศรษฐกิจ)
Business Inventories
เป็นข้อมูลเกี่ยวกับการขายและสินค้าคงคลังจากภาคการผลิต การค้าส่ง และการค้าปลีก ตัวเลขที่สูงขึ้นของ Business Inventory หมายถึงสภาวะเศรษฐกิจที่ดี
Consumer Price Index หรือ CPI
CPI จะเป็นตัววัดเกี่ยวกับระดับราคาของสินค้าและบริการที่ซื้อโดยผู้บริโภค CPI ที่เห็นประกาศกันจะมี CPI กับ Core CPI ซึ่งต่างกันตรงที่ว่า Core CPI จะไม่รวม ภาคอาหารและ ภาคพลังงานโดยปกติ CPI จะเป็นตัวที่บ่งบอกถึงอัตราเงินเฟ้อ โดยตัวเลข CPI ที่สูงจะเป็นตัววัดเรื่องอัตราเงินเฟ้อที่สูง จะนำไปสู่การขึ้นอัตราดอกเบี้ยหรือลดอัตราดอกเบี้ยได้
Current Account Balance
จะบอกถึงความแตกต่างของเงินสำรอง และการลงทุน ตัวนี้เป็นตัวสำคัญในส่วนของการซื้อขายกับต่างประเทศ ถ้า Current Account Balance เป็น + จะหมายถึงเงินออมในประเทศมีสูง แต่ถ้าเป็น - จะหมายถึงการลงทุนภายในประเทศเป็นเงินจากต่างประเทศมาลงทุน ถ้า Current Account Balance เป็น + ส่งผลให้เศรษฐกิจดีขึ้น
Consumer Confidence
เป็นการสำรวจในแต่ละครัวเรือน โดยตัวเลขตัวนี้จะมีความสัมพันธ์กับเรื่องของ การว่างงาน อัตราเงินเฟ้อ และรายได้ที่แท้จริง การที่ตัวเลขมีค่าที่เพิ่มมากขึ้นหมายถึงเศรษฐกิจที่ดีขึ้น
Durable Goods Orders
โดยจะเป็นตัววัดปริมาณของการสั่งสินค้า การส่งสินค้า โดยจะเป็นตัววัดถึงภาคการผลิต ซึ่งหากว่าเศรษฐกิจมีปัญหาจะส่งผลให้ปริมาณการสั่งสินค้าลดลง ตัวนี้จะเป็นเหมือนตัวบอกถึง GDP และ PDE การที่ตัวเลข Durable Goods Orders มีค่าที่มากขึ้น จะบ่งบอกถึงเศรษฐกิจที่ดีขึ้น
Euro-Zone ZEW ,German ZEW Indicator of Economic Sentiment
ตัวชี้วัดความเชื่อมั่นทางเศรษฐกิจ ประเมินความคาดหวังทางเศรษฐกิจในอนาคตทั้ง Euro-zone ผลสรุปเป็นตัวเลขของการตอบสนองเชิงบวก ลบ ตัวเลขเพิ่มขึ้นเศรษฐกิจก็ดีขึ้น
Federal Open Market Committee หรือ FOMC
จะประชุมเมื่อไร ไม่มีตายตัวแน่นอน แล้วแต่เค้าจะนัดกัน โดยการประชุมจะดูภาพรวมและผลของการประชุมที่สนใจกันคือเรื่องของอัตราดอกเบี้ย การปรับอัตราดอกเบี้ยที่เพิ่มขึ้นหรือลดลงมีผลทำให้ค่าเงินแข็งค่าขึ้นหรือลดลงได้
Factory Orders
เป็นการวัดการสั่งสินค้าทั้งหมด การสั่งสินค้าที่สูงหมายถึง demand ที่เพิ่มมากขึ้น ซึ่งจะเกิดขึ้นหลังจากเศรษฐกิจที่ดีขึ้น
Gross Domestic Product หรือ GDP
GDP คือตัววัดที่กว้างที่สุดเกี่ยวกับความเคลื่อนไหวของเศรษฐกิจ การที่ตัวเลข GDP เปลี่ยนแปลงไปจะหมายถึงความเปลี่ยนแปลงของอัตราการเจริญเติบโตของเศรษฐกิจ ซึ่งจะบ่งบอกเกี่ยวพันถึงอัตราเงินเฟ้อ การที่ตัวเลข GDP เพิ่มขึ้นจะทำให้ค่าเงินแข็งค่าขึ้นตามไปด้วย
IFO Business Indexes
เป็นผลสำรวจความเชื่อมั่นทางธุรกิจซึ่งเป็นตัวที่ดูเกี่ยวกับภาคธุรกิจของประเทศเยอรมัน ตัวเลขที่สูงหมายถึงเศรษฐกิจที่ดีขึ้น
Initial Weekly Jobless Claims
ประกาศทุกวันพฤหัส จะเป็นข้อมูลของสัปดาห์ปัจจุบันรวมถึงวันศุกร์ที่แล้วด้วย ซึ่งจะบอกถึงการว่างงาน โดยปกติจะสังเกตความเปลี่ยนแปลงได้จากข้อมูลก่อนหน้าย้อนหลังไปราว ๆ 4 สัปดาห์ แล้วมาทำเป็นกราฟ ทั่วไปแล้วหากมีความเปลี่ยนแปลงเกิน 30,000 จะเป็นสัญญาณบอกถึงการจ้างงานที่เปลี่ยนแปลงไป (อาจจะดีขึ้นหรือแย่ลง) ตัวเลขที่เพิ่มมากขึ้นหมายถึงคนว่างงานที่มากขึ้น
Institute of Supply Management หรือ ISM
ตัวนี้จะเป็นตัวที่บ่งบอกถึงภาคการผลิต ซึ่งรวบรวมข้อมูลอย่างกว้างขวางเกี่ยวกับ การสั่งซื้อสินค้าใหม่, การผลิต, การจ้างงาน, สินค้าคงคลัง, เวลาในการขนส่ง, ราคา, การส่งออก และการนำเข้า การที่ตัวเลข ISM มีตัวเลขที่เพิ่มขึ้นจะแสดงถึงเศรษฐกิจที่ดี
ISM Service Index หรือ Non-Manufacturing ISM
ซึ่งเป็นการสำรวจของกลุ่ม การเงิน, ประกันภัย, อสังหาริมทรัพย์, สื่อสาร และ ทั่วไป การที่ตัวเลข ISM เพิ่มขึ้นหมายถึง demand ที่เพิ่มขึ้น
Industrial Production
ซึ่งเป็นตัววัดว่าการผลิตของอุตสาหกรรมได้ผลออกมาจริง ๆ เท่าไร การที่ตัวเลขออกมาสูงขึ้นหมายถึง demand ที่เพิ่มขึ้น
Leading Indicators
เป็นดัชนีเพื่อการพยากรณ์แนวโน้มของเศรษฐกิจโดยรวมซึ่งจะเป็นบทสรุปของตัวเลขเศรษฐกิจที่ประกาศไปก่อนหน้านี้ ประกอบไปด้วย New Order, Jobless Claim, Money Supply, Average Workweek, Building Permits และ Stock Prices
Non farm Payrolls
ตัวเลขนี้จะประกาศทุกวันศุกร์แรกของเดือน เป็นตัวเลขการจ้างงานนอกภาคการเกษตร เป็นตัวเลขที่ทุกคนจับตาดูมากที่สุดในสถานการณ์การจ้างงาน ถ้ามีการจ้างงานเพิ่มขึ้นเศรษฐกิจก็จะดีขึ้น
Non-Farm Productivity
เป็นตัววัดของผลงานของคนงานและต้นทุนในการผลิตของสินค้า ในสถาวะที่เงินเฟ้อมีความสำคัญตัวเลขนี้สามารถที่จะทำให้ตลาดเคลื่อนไหวได้ โดยถ้าตัวเลขที่ลดลงสามารถบอกถึงอนาคตที่เปลี่ยนไป เช่นตัวเลข GDP ที่ดี แต่ถ้าตัวเลขนี้ขัดกันก็สามารถทำให้ตลาดมีผลกระทบได้ การที่ตัวเลข Non-Farm Productivity เพิ่มขึ้น หมายถึงการยืนยันในเรื่องของพื้นฐานของเศรษฐกิจที่ดี
NY Empire State Index
โดยเป็นการสำรวจจากผู้ผลิต หากตัวเลขมีค่ามากขึ้น จะทำให้เศรษฐกิจดีขึ้น
Producer Price Index หรือ PPI
PPI จะเป็นตัววัดราคาของสินค้าในมุมมองของการค้าส่ง PPI ที่ไม่รวมพวกอาหารและพลังงานจะเรียกว่า Core PPI ซึ่งจะถูกจับตามองมากกว่า เพราะจะมีผลกับอัตราเงินเฟ้อ เนื่องจาก PPI จะเป็นตัวที่ออกมาก่อน CPI หาก PPI มีค่าสูงมักจะทำให้ CPI มีค่าที่สูงตามไปด้วย และจะนำไปสู่การขึ้นอัตราดอกเบี้ยหรือลดอัตราดอกเบี้ยได้
Personal Income
เป็นตัววัดเกี่ยวกับรายได้ (ไม่สนว่าจะได้มาจากไหน เช่นพวก ค่าเช่า, ได้มาจากรัฐ, เงินเดือน, ดอกเบี้ย หรืออื่น ๆ) โดยตัวนี้จะเป็นตัวชี้ถึงความต้องการในการบริโภคในอนาคต (แต่ไม่เสมอไปนะ เพราะบางทีรายได้ที่มากขึ้น แต่คนอาจจะไม่จับจ่ายใช้สอยก็ได้) ตัวเลข Personal Income ที่สูงจะหมายถึงอำนาจในการซื้อและเป็นสัญญาณบ่งบอกว่าเศรษฐกิจน่าจะดี
Personal Spending
จะเป็นตัวเลขเกี่ยวกับรายจ่ายของบุคคล การจับจ่ายที่ลดลงจะหมายถึงรายได้ที่ลดลง ซึ่งจะทำให้กระแสเงินโดยรวมลดลง (แต่ก็เช่นเดียวกับ Personal Income บางทีการจ่ายลดลงไม่ได้หมายถึงรายได้ที่ลดลง แต่อาจจะไม่อยากจะจับจ่ายก็เป็นได้) ตัวเลขการจับจ่ายที่มากขึ้น จะเป็นสัญญาณที่บ่งว่าเศรษฐกิจดีขึ้น
Personal Consumption Expenditure หรือ (PCE)
PCE จะบอกถึงการอุปโภคบริโภคของภาคครัวเรือน โดย PCE จะบ่งบอกถึงความสามารถในการจับจ่ายของภาคครัวเรือน โดยตัวเลข PCE ที่สูงจะบ่งบอกถึงเศรษฐกิจที่เติบโต ซึ่งจะทำให้ค่าเงินแข็งค่าขึ้น
Philadelphia Fed Survey
โดยการสำรวจนี้จะมองมุมกว้างในทิศทางของภาคการผลิต ซึ่งจะมีความสัมพันธ์ร่วมกับ ISM ที่มองเป็นลักษณะของการผลิตเป็นตัว ๆ ไป โดย Philadelphia Fed Survey จะบอกถึงการเปลี่ยนแปลงของยุทธวิธีของผู้ผลิต ประกอบด้วย ชั่วโมงการทำงาน, พนักงาน และอื่น ๆ ซึ่งตัววัดตัวนี้มีความสำคัญมากในระบบเศรษฐกิจ
Pending Home Sales
บ้านรอการขาย บอกถึงแนวโน้มในตลาดที่อยู่อาศัยสหรัฐ และการตอบสนองในตลาดที่อยู่อาศัยมักจะแสดงสถานะของการฟื้นตัวทางเศรษฐกิจที่ดีขึ้นได้
Retail Sales
โดยจะวัดจากใบเสร็จของการค้าปลีก ซึ่งโดยปกติจะมองในภาพของสินค้า ซึ่งจะไม่สนใจเรื่องของบริการ และอื่น ๆ (เช่นพวกค่าเบี้ยประกัน หรือค่าทนาย) Retail Sales ที่ไม่รวมการซื้อรถ จะเรียกว่า Core Retail Sales โดยการเปลี่ยนแปลงของตัวเลขการขายจะหมายถึงราคาที่เปลี่ยนแปลงไป ไม่ได้หมายถึงความต้องการซื้อที่ลดลง การที่ตัวเลข Retail Sales มีตัวเลขที่สูงหมายถึงเศรษฐกิจที่ดีและแข็งแกร่ง ซึ่งมีผลทำให้ค่าเงินแข็งค่าขึ้น
Trade Balance
โดยการประกาศจะบอกให้รู้ถึงทิศทางของการส่งออกและการนำเข้า ซึ่งตัวเลข Trade Balance จะสามารถคาดคะเนตัวเลข GDP ในอนาคตได้ ตัวเลข Trade Balance จะนำค่าตัวเลข Export ลบกับ ตัวเลข Import หากผลที่ออกมามีค่าเป็น + จะหมายถึงเศรษฐกิจที่ดี และมีผลทำให้ค่าเงินแข็งค่าขึ้นตามไปด้วย
Treasury International Capital System หรือ TICS
TICS จะรวบรวมข้อมูลของ US เพื่อดูว่าการลงทุนของคน US และ คนต่างชาติเป็นอย่างไรบ้าง โดยหากข้อมูล TICS เป็นตัวเลขที่สูงจะหมายถึงเศรษฐกิจของ US ที่แข็งแกร่ง
University of Michigan Consumer Sentiment Index
โดย Michigan Index จะเปรียบเทียบระหว่างดัชนีสองตัวคือ สิ่งที่คาดหวัง และ สิ่งที่เป็นไปจริง ๆ ถ้าสิ่งที่คาดหวังไว้และสิ่งที่เป็นจริงมีค่าใกล้เคียงกัน หมายถึงเศรษฐกิจเป็นไปในแนวทางเดียวกับที่หวังไว้ ซึ่งจะทำให้ค่าเงินแข็งค่าขึ้น
เป็นข้อมูลเกี่ยวกับการขายและสินค้าคงคลังจากภาคการผลิต การค้าส่ง และการค้าปลีก ตัวเลขที่สูงขึ้นของ Business Inventory หมายถึงสภาวะเศรษฐกิจที่ดี
Consumer Price Index หรือ CPI
CPI จะเป็นตัววัดเกี่ยวกับระดับราคาของสินค้าและบริการที่ซื้อโดยผู้บริโภค CPI ที่เห็นประกาศกันจะมี CPI กับ Core CPI ซึ่งต่างกันตรงที่ว่า Core CPI จะไม่รวม ภาคอาหารและ ภาคพลังงานโดยปกติ CPI จะเป็นตัวที่บ่งบอกถึงอัตราเงินเฟ้อ โดยตัวเลข CPI ที่สูงจะเป็นตัววัดเรื่องอัตราเงินเฟ้อที่สูง จะนำไปสู่การขึ้นอัตราดอกเบี้ยหรือลดอัตราดอกเบี้ยได้
Current Account Balance
จะบอกถึงความแตกต่างของเงินสำรอง และการลงทุน ตัวนี้เป็นตัวสำคัญในส่วนของการซื้อขายกับต่างประเทศ ถ้า Current Account Balance เป็น + จะหมายถึงเงินออมในประเทศมีสูง แต่ถ้าเป็น - จะหมายถึงการลงทุนภายในประเทศเป็นเงินจากต่างประเทศมาลงทุน ถ้า Current Account Balance เป็น + ส่งผลให้เศรษฐกิจดีขึ้น
Consumer Confidence
เป็นการสำรวจในแต่ละครัวเรือน โดยตัวเลขตัวนี้จะมีความสัมพันธ์กับเรื่องของ การว่างงาน อัตราเงินเฟ้อ และรายได้ที่แท้จริง การที่ตัวเลขมีค่าที่เพิ่มมากขึ้นหมายถึงเศรษฐกิจที่ดีขึ้น
Durable Goods Orders
โดยจะเป็นตัววัดปริมาณของการสั่งสินค้า การส่งสินค้า โดยจะเป็นตัววัดถึงภาคการผลิต ซึ่งหากว่าเศรษฐกิจมีปัญหาจะส่งผลให้ปริมาณการสั่งสินค้าลดลง ตัวนี้จะเป็นเหมือนตัวบอกถึง GDP และ PDE การที่ตัวเลข Durable Goods Orders มีค่าที่มากขึ้น จะบ่งบอกถึงเศรษฐกิจที่ดีขึ้น
Euro-Zone ZEW ,German ZEW Indicator of Economic Sentiment
ตัวชี้วัดความเชื่อมั่นทางเศรษฐกิจ ประเมินความคาดหวังทางเศรษฐกิจในอนาคตทั้ง Euro-zone ผลสรุปเป็นตัวเลขของการตอบสนองเชิงบวก ลบ ตัวเลขเพิ่มขึ้นเศรษฐกิจก็ดีขึ้น
Federal Open Market Committee หรือ FOMC
จะประชุมเมื่อไร ไม่มีตายตัวแน่นอน แล้วแต่เค้าจะนัดกัน โดยการประชุมจะดูภาพรวมและผลของการประชุมที่สนใจกันคือเรื่องของอัตราดอกเบี้ย การปรับอัตราดอกเบี้ยที่เพิ่มขึ้นหรือลดลงมีผลทำให้ค่าเงินแข็งค่าขึ้นหรือลดลงได้
Factory Orders
เป็นการวัดการสั่งสินค้าทั้งหมด การสั่งสินค้าที่สูงหมายถึง demand ที่เพิ่มมากขึ้น ซึ่งจะเกิดขึ้นหลังจากเศรษฐกิจที่ดีขึ้น
Gross Domestic Product หรือ GDP
GDP คือตัววัดที่กว้างที่สุดเกี่ยวกับความเคลื่อนไหวของเศรษฐกิจ การที่ตัวเลข GDP เปลี่ยนแปลงไปจะหมายถึงความเปลี่ยนแปลงของอัตราการเจริญเติบโตของเศรษฐกิจ ซึ่งจะบ่งบอกเกี่ยวพันถึงอัตราเงินเฟ้อ การที่ตัวเลข GDP เพิ่มขึ้นจะทำให้ค่าเงินแข็งค่าขึ้นตามไปด้วย
IFO Business Indexes
เป็นผลสำรวจความเชื่อมั่นทางธุรกิจซึ่งเป็นตัวที่ดูเกี่ยวกับภาคธุรกิจของประเทศเยอรมัน ตัวเลขที่สูงหมายถึงเศรษฐกิจที่ดีขึ้น
Initial Weekly Jobless Claims
ประกาศทุกวันพฤหัส จะเป็นข้อมูลของสัปดาห์ปัจจุบันรวมถึงวันศุกร์ที่แล้วด้วย ซึ่งจะบอกถึงการว่างงาน โดยปกติจะสังเกตความเปลี่ยนแปลงได้จากข้อมูลก่อนหน้าย้อนหลังไปราว ๆ 4 สัปดาห์ แล้วมาทำเป็นกราฟ ทั่วไปแล้วหากมีความเปลี่ยนแปลงเกิน 30,000 จะเป็นสัญญาณบอกถึงการจ้างงานที่เปลี่ยนแปลงไป (อาจจะดีขึ้นหรือแย่ลง) ตัวเลขที่เพิ่มมากขึ้นหมายถึงคนว่างงานที่มากขึ้น
Institute of Supply Management หรือ ISM
ตัวนี้จะเป็นตัวที่บ่งบอกถึงภาคการผลิต ซึ่งรวบรวมข้อมูลอย่างกว้างขวางเกี่ยวกับ การสั่งซื้อสินค้าใหม่, การผลิต, การจ้างงาน, สินค้าคงคลัง, เวลาในการขนส่ง, ราคา, การส่งออก และการนำเข้า การที่ตัวเลข ISM มีตัวเลขที่เพิ่มขึ้นจะแสดงถึงเศรษฐกิจที่ดี
ISM Service Index หรือ Non-Manufacturing ISM
ซึ่งเป็นการสำรวจของกลุ่ม การเงิน, ประกันภัย, อสังหาริมทรัพย์, สื่อสาร และ ทั่วไป การที่ตัวเลข ISM เพิ่มขึ้นหมายถึง demand ที่เพิ่มขึ้น
Industrial Production
ซึ่งเป็นตัววัดว่าการผลิตของอุตสาหกรรมได้ผลออกมาจริง ๆ เท่าไร การที่ตัวเลขออกมาสูงขึ้นหมายถึง demand ที่เพิ่มขึ้น
Leading Indicators
เป็นดัชนีเพื่อการพยากรณ์แนวโน้มของเศรษฐกิจโดยรวมซึ่งจะเป็นบทสรุปของตัวเลขเศรษฐกิจที่ประกาศไปก่อนหน้านี้ ประกอบไปด้วย New Order, Jobless Claim, Money Supply, Average Workweek, Building Permits และ Stock Prices
Non farm Payrolls
ตัวเลขนี้จะประกาศทุกวันศุกร์แรกของเดือน เป็นตัวเลขการจ้างงานนอกภาคการเกษตร เป็นตัวเลขที่ทุกคนจับตาดูมากที่สุดในสถานการณ์การจ้างงาน ถ้ามีการจ้างงานเพิ่มขึ้นเศรษฐกิจก็จะดีขึ้น
Non-Farm Productivity
เป็นตัววัดของผลงานของคนงานและต้นทุนในการผลิตของสินค้า ในสถาวะที่เงินเฟ้อมีความสำคัญตัวเลขนี้สามารถที่จะทำให้ตลาดเคลื่อนไหวได้ โดยถ้าตัวเลขที่ลดลงสามารถบอกถึงอนาคตที่เปลี่ยนไป เช่นตัวเลข GDP ที่ดี แต่ถ้าตัวเลขนี้ขัดกันก็สามารถทำให้ตลาดมีผลกระทบได้ การที่ตัวเลข Non-Farm Productivity เพิ่มขึ้น หมายถึงการยืนยันในเรื่องของพื้นฐานของเศรษฐกิจที่ดี
NY Empire State Index
โดยเป็นการสำรวจจากผู้ผลิต หากตัวเลขมีค่ามากขึ้น จะทำให้เศรษฐกิจดีขึ้น
Producer Price Index หรือ PPI
PPI จะเป็นตัววัดราคาของสินค้าในมุมมองของการค้าส่ง PPI ที่ไม่รวมพวกอาหารและพลังงานจะเรียกว่า Core PPI ซึ่งจะถูกจับตามองมากกว่า เพราะจะมีผลกับอัตราเงินเฟ้อ เนื่องจาก PPI จะเป็นตัวที่ออกมาก่อน CPI หาก PPI มีค่าสูงมักจะทำให้ CPI มีค่าที่สูงตามไปด้วย และจะนำไปสู่การขึ้นอัตราดอกเบี้ยหรือลดอัตราดอกเบี้ยได้
Personal Income
เป็นตัววัดเกี่ยวกับรายได้ (ไม่สนว่าจะได้มาจากไหน เช่นพวก ค่าเช่า, ได้มาจากรัฐ, เงินเดือน, ดอกเบี้ย หรืออื่น ๆ) โดยตัวนี้จะเป็นตัวชี้ถึงความต้องการในการบริโภคในอนาคต (แต่ไม่เสมอไปนะ เพราะบางทีรายได้ที่มากขึ้น แต่คนอาจจะไม่จับจ่ายใช้สอยก็ได้) ตัวเลข Personal Income ที่สูงจะหมายถึงอำนาจในการซื้อและเป็นสัญญาณบ่งบอกว่าเศรษฐกิจน่าจะดี
Personal Spending
จะเป็นตัวเลขเกี่ยวกับรายจ่ายของบุคคล การจับจ่ายที่ลดลงจะหมายถึงรายได้ที่ลดลง ซึ่งจะทำให้กระแสเงินโดยรวมลดลง (แต่ก็เช่นเดียวกับ Personal Income บางทีการจ่ายลดลงไม่ได้หมายถึงรายได้ที่ลดลง แต่อาจจะไม่อยากจะจับจ่ายก็เป็นได้) ตัวเลขการจับจ่ายที่มากขึ้น จะเป็นสัญญาณที่บ่งว่าเศรษฐกิจดีขึ้น
Personal Consumption Expenditure หรือ (PCE)
PCE จะบอกถึงการอุปโภคบริโภคของภาคครัวเรือน โดย PCE จะบ่งบอกถึงความสามารถในการจับจ่ายของภาคครัวเรือน โดยตัวเลข PCE ที่สูงจะบ่งบอกถึงเศรษฐกิจที่เติบโต ซึ่งจะทำให้ค่าเงินแข็งค่าขึ้น
Philadelphia Fed Survey
โดยการสำรวจนี้จะมองมุมกว้างในทิศทางของภาคการผลิต ซึ่งจะมีความสัมพันธ์ร่วมกับ ISM ที่มองเป็นลักษณะของการผลิตเป็นตัว ๆ ไป โดย Philadelphia Fed Survey จะบอกถึงการเปลี่ยนแปลงของยุทธวิธีของผู้ผลิต ประกอบด้วย ชั่วโมงการทำงาน, พนักงาน และอื่น ๆ ซึ่งตัววัดตัวนี้มีความสำคัญมากในระบบเศรษฐกิจ
Pending Home Sales
บ้านรอการขาย บอกถึงแนวโน้มในตลาดที่อยู่อาศัยสหรัฐ และการตอบสนองในตลาดที่อยู่อาศัยมักจะแสดงสถานะของการฟื้นตัวทางเศรษฐกิจที่ดีขึ้นได้
Retail Sales
โดยจะวัดจากใบเสร็จของการค้าปลีก ซึ่งโดยปกติจะมองในภาพของสินค้า ซึ่งจะไม่สนใจเรื่องของบริการ และอื่น ๆ (เช่นพวกค่าเบี้ยประกัน หรือค่าทนาย) Retail Sales ที่ไม่รวมการซื้อรถ จะเรียกว่า Core Retail Sales โดยการเปลี่ยนแปลงของตัวเลขการขายจะหมายถึงราคาที่เปลี่ยนแปลงไป ไม่ได้หมายถึงความต้องการซื้อที่ลดลง การที่ตัวเลข Retail Sales มีตัวเลขที่สูงหมายถึงเศรษฐกิจที่ดีและแข็งแกร่ง ซึ่งมีผลทำให้ค่าเงินแข็งค่าขึ้น
Trade Balance
โดยการประกาศจะบอกให้รู้ถึงทิศทางของการส่งออกและการนำเข้า ซึ่งตัวเลข Trade Balance จะสามารถคาดคะเนตัวเลข GDP ในอนาคตได้ ตัวเลข Trade Balance จะนำค่าตัวเลข Export ลบกับ ตัวเลข Import หากผลที่ออกมามีค่าเป็น + จะหมายถึงเศรษฐกิจที่ดี และมีผลทำให้ค่าเงินแข็งค่าขึ้นตามไปด้วย
Treasury International Capital System หรือ TICS
TICS จะรวบรวมข้อมูลของ US เพื่อดูว่าการลงทุนของคน US และ คนต่างชาติเป็นอย่างไรบ้าง โดยหากข้อมูล TICS เป็นตัวเลขที่สูงจะหมายถึงเศรษฐกิจของ US ที่แข็งแกร่ง
University of Michigan Consumer Sentiment Index
โดย Michigan Index จะเปรียบเทียบระหว่างดัชนีสองตัวคือ สิ่งที่คาดหวัง และ สิ่งที่เป็นไปจริง ๆ ถ้าสิ่งที่คาดหวังไว้และสิ่งที่เป็นจริงมีค่าใกล้เคียงกัน หมายถึงเศรษฐกิจเป็นไปในแนวทางเดียวกับที่หวังไว้ ซึ่งจะทำให้ค่าเงินแข็งค่าขึ้น
Economic Calendar (ปฏิทินเศรษฐกิจ)
BOJ (Bank Of Japan)
BOE Rate Decision ( Bank Of England )
Business Inventories
CPI ( Consumer Price index )
Current Account Balance
Consumer Confidence ( Consumer Sentiment )
Construction Spending
Durable Goods orders
ECB Rate Decision ( Europe Central Bank )
Existing Home sales
Employee Cost Index - Labor Cost Index
FOMC ( Federal open Market committee meeting )
Factory Orders
GDP ( Gross Domestic Production )
Euro-Zone ,German ZEW Indicator of Economic Sentiment
Housing Starts
ISM Manufacturing Index ( Institute of Supply Manager )
ISM Non-Manufacturing Index
Industrial Production & Capacity Utilization
IFO Business Index ( Institute of IFO in Germany )
Leading Indicators
M2 Money Supply - Money Cost
Non farm Payrolls
Non-Farm Productivity
NY Empire State Index - ( New York Empire Index )
New Home Sales
NAPM ( National Association of Purchasing Management)
PPI ( Producer Price Index )
Personal Income
Personal spending
Philadelphia Fed. Survey
Pending Home Sales
PCE Price Deflator ( Personal Consumption Expenditure)
Retail Sales
Trade Balance
BOE Rate Decision ( Bank Of England )
Business Inventories
CPI ( Consumer Price index )
Current Account Balance
Consumer Confidence ( Consumer Sentiment )
Construction Spending
Durable Goods orders
ECB Rate Decision ( Europe Central Bank )
Existing Home sales
Employee Cost Index - Labor Cost Index
FOMC ( Federal open Market committee meeting )
Factory Orders
GDP ( Gross Domestic Production )
Euro-Zone ,German ZEW Indicator of Economic Sentiment
Housing Starts
ISM Manufacturing Index ( Institute of Supply Manager )
ISM Non-Manufacturing Index
Industrial Production & Capacity Utilization
IFO Business Index ( Institute of IFO in Germany )
Leading Indicators
M2 Money Supply - Money Cost
Non farm Payrolls
Non-Farm Productivity
NY Empire State Index - ( New York Empire Index )
New Home Sales
NAPM ( National Association of Purchasing Management)
PPI ( Producer Price Index )
Personal Income
Personal spending
Philadelphia Fed. Survey
Pending Home Sales
PCE Price Deflator ( Personal Consumption Expenditure)
Retail Sales
Trade Balance
Carry Trade คืออะไร?
carry trade คืออะไร
ทำไมต้องมี carry trade และเหตุใดถึงได้เป็นที่นิยมในบรรดานักลงทุน นักเก็งกำไร เฮดจ์ฟันด์ต่างๆ หลายคนคงจะเคยได้ยินคำนี้ แต่บางคนยังไม่ทราบความหมาย และกลไกการทำหน้าที่ของมัน ไปจนถึงความสัมพันธ์ของ carry trade กับอัตราแลกเปลี่ยนและอัตราดอกเบี้ย มีหลายคนเคยบอกไว้ว่า เจ้า carry trade คือตัวป่วนจอมฉกาจในตลาดอัตราแลกเปลี่ยนเลยทีเดียว
carry trade คือ การทำธุรกรรมที่มีวัตถุประสงค์เพื่อเก็งกำไรจากส่วนต่างอัตราดอกเบี้ยและผลตอบแทนจากสินทรัพย์ที่ลงทุน โดยการกู้ยืมเงินจากประเทศที่มีดอกเบี้ยต่ำเพื่อไปลงทุนในประเทศที่ให้อัตราดอกเบี้ยสูงกว่า และมีสินทรัพย์ที่น่าลงทุน โดย carry Trade เป็นที่นิยมมากในตลาดเงินโลกในช่วง 2-3 ปีที่ผ่านมา เนื่องจากมีประเทศหนึ่ง ซึ่งก็คือญี่ปุ่นที่มีดอกเบี้ยต่ำ โดยมีอัตราดอกเบี้ยนโยบายเพียง 0.50% เป็นสิ่งดึงดูดใจนักลงทุน จึงทำให้เกิด yen carry trade ขึ้นในประวัติศาสตร์การเงินโลก ตัวอย่างเช่นการทำ yen carry trade ก็คือ กองทุน A ไปกู้เงินจากญี่ปุ่นซึ่งมีดอกเบี้ย 0.5% เพื่อนำไปลงทุนในสินทรัพย์ใดๆ ในอีกประเทศหนึ่งซึ่งมีดอกเบี้ยสูงกว่าที่สมมุติเป็น 8.25% แล้วผลที่ได้คือ กำไรจากส่วนต่างอัตราดอกเบี้ย และผลตอบแทนจากการลงทุน และถ้าโชคดีค่าเงินสกุลที่ดอกเบี้ยสูงกว่าเกิดแข็งค่าขึ้น ก็จะได้กำไรจากส่วนต่างอัตราแลกเปลี่ยนด้วย
ทำไมต้องมี carry trade และเหตุใดถึงได้เป็นที่นิยมในบรรดานักลงทุน นักเก็งกำไร เฮดจ์ฟันด์ต่างๆ หลายคนคงจะเคยได้ยินคำนี้ แต่บางคนยังไม่ทราบความหมาย และกลไกการทำหน้าที่ของมัน ไปจนถึงความสัมพันธ์ของ carry trade กับอัตราแลกเปลี่ยนและอัตราดอกเบี้ย มีหลายคนเคยบอกไว้ว่า เจ้า carry trade คือตัวป่วนจอมฉกาจในตลาดอัตราแลกเปลี่ยนเลยทีเดียว
carry trade คือ การทำธุรกรรมที่มีวัตถุประสงค์เพื่อเก็งกำไรจากส่วนต่างอัตราดอกเบี้ยและผลตอบแทนจากสินทรัพย์ที่ลงทุน โดยการกู้ยืมเงินจากประเทศที่มีดอกเบี้ยต่ำเพื่อไปลงทุนในประเทศที่ให้อัตราดอกเบี้ยสูงกว่า และมีสินทรัพย์ที่น่าลงทุน โดย carry Trade เป็นที่นิยมมากในตลาดเงินโลกในช่วง 2-3 ปีที่ผ่านมา เนื่องจากมีประเทศหนึ่ง ซึ่งก็คือญี่ปุ่นที่มีดอกเบี้ยต่ำ โดยมีอัตราดอกเบี้ยนโยบายเพียง 0.50% เป็นสิ่งดึงดูดใจนักลงทุน จึงทำให้เกิด yen carry trade ขึ้นในประวัติศาสตร์การเงินโลก ตัวอย่างเช่นการทำ yen carry trade ก็คือ กองทุน A ไปกู้เงินจากญี่ปุ่นซึ่งมีดอกเบี้ย 0.5% เพื่อนำไปลงทุนในสินทรัพย์ใดๆ ในอีกประเทศหนึ่งซึ่งมีดอกเบี้ยสูงกว่าที่สมมุติเป็น 8.25% แล้วผลที่ได้คือ กำไรจากส่วนต่างอัตราดอกเบี้ย และผลตอบแทนจากการลงทุน และถ้าโชคดีค่าเงินสกุลที่ดอกเบี้ยสูงกว่าเกิดแข็งค่าขึ้น ก็จะได้กำไรจากส่วนต่างอัตราแลกเปลี่ยนด้วย
9/10/2009
Bullish Convergence & Bearish Convergence
Convergence Pattern
Convergence หมายถึงการที่ Indicator(ดัชนีชี้วัด) กับ Price(ราคา) เคลื่อนไหวไปในทิศทางเดียวกัน ซึ่งเป็นการสนับสนุนว่า Price(ราคา) จะเคลื่อนไหวไปในทิศทางนั้นต่อไป แบ่งออกเป็น
Bullish Convergence
ถ้า Price(ราคา) มีจุดสูงสุดใหม่ที่สูงกว่าจุดสูงสุดเดิม และ Indicator(ดัชนีชี้วัด) ก็มีจุดสูงสุดใหม่ที่สูงกว่าจุดสูงสุดเดิมเช่นกัน เป็นการบอกแนวโน้ม ว่าPrice(ราคา) จะขึ้นต่อไป
Bearish Convergence
ถ้า Price(ราคา) มีจุดต่ำสุดใหม่ที่ต่ำกว่าจุดต่ำสุดเดิม และ Indicator(ดัชนีชี้วัด) ก็มีจุดต่ำสุดใหม่ที่ต่ำกว่าจุดต่ำสุดเดิมเช่นกัน เป็นการบอกแนวโน้มว่า Price(ราคา) จะลดลงต่อไป
Bullish Divergence & Bearish Divergence
Divergence Pattern
divergence คือการที่สัญญาณเกิดการขัดแย้งกันในระหว่างแนวโน้มของราคากับสัญญาณ indicator แบ่งออกเป็น bullish divergence และ bearish divergence
Bullish Divergence
เป็นสัญญาณการขัดแย้งของแนวโน้มราคาขาลงซึ่งเป็นสัญญาณเตือนว่าราคาใกล้จะขึ้นแล้ว คือ เมื่อราคาสามารถลงทำ new low ใหม่ได้ แต่สัญญาณ indicator เช่น rsi, macd, stochastic ไม่สามารถลงทำ new low ใหม่ได้
เงื่อนไขการเกิด bullish divergence ทีดีคือ สัญญาณขัดแย้งของ indicator จะต้องอยู่ในเขต Oversold มีการขายมากเกินไป จะมีโอกาสเป็นไปตามเงื่อนไขสูงกว่า bullish divergence ที่ไม่ได้เกิดในเขต Oversold
Bearish Divergence
เป็นสัญญาณการขัดแย้งของแนวโน้มราคาขาขึ้นซึ่งเป็นสัญญาณเตือนว่าราคาใกล้จะลงแล้ว คือเมื่อราคาสามารถขึ้นทำ new high ใหม่ได้ แต่สัญญาณ indicator เช่น rsi, macd, stochastic ไม่สามารถขึ้นทำ new high ใหม่ได้
เงื่อนไขการเกิด bearish divergence ที่ดีคือ สัญญาณขัดแย้งของ indicator จะต้องอยู่ในเขต Overbought มีการซื้อมากเกินไป จะมีโอกาสเป็นไปตามเงื่อนไขสูงกว่า bearish divergence ที่ไม่ได้เกิดในเขต Overbought
สัญญาณลวง Divergence
สัญญาณลวง Divergence
ในบางครั้ง divergence อาจเกิดได้มากกว่า 1 ครั้ง ดังนั้น จึงต้องใช้ value volume ช่วยสังเกต กล่าวคือ บางครั้งเกิดสัญญาณ divergence ที่เด่นชัดแต่ อยู่ดีๆ มี volume หรือ value มาดันราคาจนราคาเพิ่มหรือทุบลงมาจนราคาลดลง จนทำให้ สัญญาณที่เกิด divergence นั้นเสียไป หรือบางกรณี มีแรงซื้อหรือแรงขายหนาแน่น จนทำให้ indicator อยู่สูงอยู่ตลอดเวลา ราคาก็ขึ้นหรือลงไปไม่หยุด
Subscribe to:
Posts (Atom)